วันศุกร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ความรู้ที่ได้จากการสัมมนา เรื่อง การบริการสารสนเทศรูปแบบใหม่ที่เกี่ยวข้อง 23 กรกฎาคม 2554

ความรู้ที่ได้จากการสัมมนา เรื่อง การบริการสารสนเทศรูปแบบใหม่ที่เกี่ยวข้อง วันที่ 23/07/11
โดย อาจารย์บุญเลิศ  อรุณพิบูลย์
หัวหน้างาน งานพัฒนาและบริการสื่อสาระดิจิทัล
ฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

New services บริการสารสนเทศรูปแบบใหม่ที่เกี่ยวข้อง”

Library Trend : IFLA, ALA, UNESCO

TREND I – Cloud Computing

มิติที่ 1 ที่ตั้งคือ การทำงานที่ไม่สามารถระบุที่ตั้งของการทำงานนั้นๆ ได้ อะไรก็ตามที่เราใช้ผ่านระบบ อินเตอร์เน็ท และดำเนินการผ่าน Networking ของโลก โดยไม่มีแหล่งบ่งชี้ชัดเจน มันสามารถจะวางอยู่ที่ใดของโลกก็ได้ ไม่ต้องรู้ที่ตั้ง ไม่ต้องรู้ว่า server อยู่ที่ไหน
มิติที่ 2 กลุ่มก้อน –Server กลางไม่ได้มีแค่เครื่องเดียง จุดเดียว เช่น gmailของ googleไม่มีการจำกัดจำนวนผู้เข้าใช้ ทุกคนในโลกสามารถเข้าใช้ได้ gmailมีการตั้ง server แบบกระจาย ไม่กำหนดที่จุดใดจุดหนึ่ง ใครก็ตามที่สมัครสมาชิกก็สามารถใช้เทคนิคการตรวจสองช่องว่างของสัญญาณว่า server ไหนว่าง ช่วงเวลาที่เรา ล็อกอินข้าไประบบก็วิ่งไปที่ server นั้น แต่เราไม่จำเป็นต้องทราบว่า server อยู่ไหน แค่เราต่อ Internet เข้าไป ก็จะมี processในการทำงานของ gmailเอง
Cloud Computing
“คลาวด์คอมพิวติ้งก็คือแนวคิดการใช้งานทางด้านไอทีที่ ใช้วิธีดึงพลังและสมรรถนะจากคอมพิวเตอร์หลายๆตัวจากต่างสถานที่ให้มาทำงาน สอดประสานกันเพื่อช่วยขับเคลื่อนการบริการทางด้านไอที ประโยชน์ของคลาวด์คอมพิวติ้งมีอยู่หลายประการ เช่นช่วยให้การนำไอทีไปประยุกต์ใช้ในเชิงธุรกิจทำได้ง่ายและประหยัดขึ้นกว่า ในอดีต โดยองค์กรสามารถใช้บริการทางด้านไอทีได้โดยไม่จำเป็นต้องลงทุนมากมายกับโครง สร้างพื้นฐานไอทีของตนอีกทั้งผู้ใช้งานก็สามารถเลือกใช้บริการเฉพาะอย่างและ เลือกเสียค่าใช้จ่ายให้ตรงกับความต้องการเฉพาะด้านหรือสอดคล้องกับงบประมาณ ของตนได้ เป็นต้น” (http://www.sapaan.net/forum/internet-community/aociiaocoe%28cloud-computing%29-xiidaa-aocoaeonana/)

Black April 

คือเหตุการณ์ที่ประเทศอเมริกา ที่มีเทคโนโลยีล่าสุดระบบต่างล่มโดยมิได้นัดหมายในเดือนเมษายน 2011ที่ขอเรียกได้ว่าเป็น “Black April” เดือนที่เกิดความโกลาหลในอุตสาหกรรมไอซีที ไปพอสมควรไม่เพียงแต่ในต่างประเทศ บ้านเราระบบไทยคมก็ทำเอาหน้าจอมืดไปร่วมสามชั่วโมง
ปัญหาที่เกิดขึ้นส่งผลให้ผู้ใช้บริการบางรายสูญเสียข้อมูลบางส่วนไป เนื่องจากปัญหาทางเทคนิค ทาง Amazon ได้ออกมารับผิดชอบด้วยการคืนเครดิตเป็นจำนวนวันเพื่อชดเชยช่วงเวลาที่ไม่ สามารถให้บริการได้แม้จะออกมาแสดงความรับผิดชอบแล้วแต่ยังก่อให้เกิดความ เสียหายไม่เพียงกับตัวบริษัทเท่านั้นแต่ส่งผลเชิงลบต่อภาพรวมของบริการ คลาวด์ (Cloud service)

OCLC

OCLC ทำหน้าที่รวบรวมรายการบรรณานุกรมและให้บริการรายการบรรณานุกรมแก่ทุกคน OCLC เป็น Bibliographic Utilities ที่มีฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่สุดและเป็นเครือข่ายที่ใหญ่ที่สุดในโลก
OCLC เป็น cloud ระดับองค์กร แยกประเภทได้ดังนี้
  1. แยกตามกลุ่มผู้ใช้
  • Cloud ระดับองค์กร…. cloud Library
  • Cloud ระดับบุคคล/บริการ       
Gmail, FB, Meebo, Hotmail, yahoo
  • Could ผสมผสาน                   
                Dropbox– “Dropboxเป็นบริการซิงก์และ ฝากไฟล์แบบออนไลน์ ซึ่งผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ฝากอยู่ได้จากทุกๆ ที่ที่มีอินเทอร์เน็ตกล่าวคือเมื่อผู้ใช้งานได้ติดตั้งตัวโปรแกรมและจับไฟล์ ต่างๆโยนเข้าไปไว้บนโฟลเดอร์ที่ Dropboxสร้างแล้วมันก็จะถูกดึงไปไว้บนเซอร์เวอร์ของ Dropboxโดยทันทีทีนี้ผู้ใช้งานจึงสามารถเข้าถึงโฟลเดอร์นี้ได้จากเครื่อง คอมพิวเตอร์ใดๆที่ได้ติดตั้งโปรแกรม Dropboxไว้ (ในขณะนี้รองรับทั้ง Windows, Mac, Linux และแม้กระทั่ง iPhone) นอกจากนั้น ถ้าไม่สะดวกที่จะติดตั้งโปรแกรมผู้ใช้งานยังสามารถเข้าถึงไฟล์ที่ฝากไว้ผ่าน ทางเวบไซต์Dropboxได้โดยตรงอีกด้วย และที่สำคัญก็คือถ้าในขณะที่เรากำลังอัพโหลดไฟล์เข้าโฟลเดอร์ Dropboxอยู่แล้วอินเทอร์เน็ตเกิดหลุดขึ้นมา ทางโปรแกรมจะทำการ resume การอัพโหลดให้ใหม่โดยอัตโนมัติเมื่อเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตอีกครั้ง



1. ซิงก์ไฟล์ Dropbox


2. แชร์ไฟล์ Dropbox


3. สำรองข้อมูลแบบออนไลน์ Dropbox

4. สามารถกู้ไฟล์ที่ลบทิ้งไปแล้วได้ Dropbox
   2.   แยกตามการใช้บริการ
  • Public cloud cloud ที่ให้บริการแบบสารธารณะ เช่น เฟซบุ๊ค
  •  Private cloud– cloud ส่วนตัวที่เราซื้อมาแล้วใช้เฉพาะในองค์กรเท่านั้น
  • Hybrid cloud 

   3.   แยกตามประเภทของเทคโนโลยี
  • SaaS – Software as a serviceคือไม่ต้องมีซอฟแวร์เป็น แผ่นซีดีมาติดตั้งทีละเครื่องๆ มีผู้ให้บริการที่ทำออกมาเหมือนซอฟแวร์ทั้งหมดเลย แล้วให้ผู้บริการใช้ได้ฟรีๆ เช่น www.zoho.com และ docs.google.comสร้างเอกสาร สเปรดชีต และงานนำเสนอแบบออนไลน์ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ
  • IaaS – Infrastructure as a serviceคือ เว็บโฮสซิ่งทั้งหมด เราไม่ต้องเช่าพื้นที่ server มีคนจ่ายตั้งค่าเช่าให้เราใช้ฟรีๆ
  • PaaS – Platform as a service

Trend II – Mobile Device

ห้องสมุดจะให้บริการด้านอะไรบ้างผ่านทางโมบาย ก่อนอื่นต้องมีการทำการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้ก่อนว่ามีการใช้บริการผ่านโมบาย หรือไม่อย่างไร เว็บสถิติประเทศไทย คือตัวช่วยที่ห้องสมุดสามารถไปค้นได้ว่า พฤติกรรมผู้ใช้โมบายมีแนวโน้มเป็นอย่างไร

                รู้จักผู้ใช้และพฤติกรรมจาก Truehits.net 
  

Smart phone   
                              

ที่มา :  http://www.libertymobiles.com/

 
Tablet


                           

 eReader 



                               
Netbook

Trend III – Digital content & Publishing

                eBook, IR, Digital Library, OJS
Cloud Computing และ Trend ที่ 3 นี้เกิดเพราะทุกองค์กรในโลกนี้มีเงินน้อยลง เพราะภาวะของเศรษฐกิจที่ถดถอย เงินน้อย งบประมาณน้อย ทุกองค์กรเกิดปัญหาเหมือนๆ กัน ไม่มีเงินจ้างคนเพิ่มขึ้น แต่คนที่ทำงานอยู่เดิมๆ ต้องรับผิดชอบงานที่เพิ่มมากขึ้น เช่น Server นี้ต้องใช้คนดูแล 3 คน แต่ปัจจุบันมันได้ล้าสมัยแล้ว ก็ตัดออกทั้ง Serverและคนดูแล แล้วหันมาซื้อบริการทาง Cloud Computing แทน
หลายห้องสมุดในเมืองนอก มีการยุติการซื้อวารสารออนไลน์ ซึ่งที่เกิดตามมาคือต้องมีการสร้างContentเอง แทนที่จะเอาเงินไปจ่ายให้บริษัทแล้วซื้อ Online Database แต่เอาเงินตรงนี้ไปให้อาจารย์ในสถาบันนั้นๆ เขียนContentขึ้นมาให้กับห้องสมุดเอง เป็นการประหยัดงบประมาณและให้ความสำคัญกับบุคลากรขององค์กรนั้นๆ
เช่น http://ag-book.lib.ku.ac.th และ http://www.siamrarebooks.com
ถ้าสนใจจะทำ อีบุ๊ค มีการเน้น 3 ส่วนคือ
  1. การได้มาของเนื้อหา– เชิญชวนบุคลากรเข้ามาทำงานร่วมกัน
  2. กระบวนการผิต และรูปแบบ– ดูว่าจะทำอีบุ๊ครูปแบบใดบ้าง PDF, flat ,etc .โดยอาจจะสำรวจความต้องการของผู้ใช้ก่อนว่าผู้ใช้มีความต้องการแบบไหน
รูปแบบ eBook เช่น
               .doc – typing on MS word
                .pdf
                Flip eBook– maybecan or can’tshow on website
                Flash Flip eBook– can show on website
                ePublishing- ลักษณะของสิ่งพิมพ์ที่เป็นโปสเตอร์ แผ่นพับ ในลักษณะของอิเล็กทรอนิกส์
                .ePub
                Digital Multimedia Book
      3.   ลิขสิทธิ์ ต้นฉบับ และการเผยแพร่
     4.    Crosswalk Metadata – คือการทำเมตาดาต้ามากกว่า1ประเภทหรือมากกว่า1รูปแบบ ทุกอย่างจะมีการผสมผสานกันหมด เราจำเป็นต้องรู้จัก เมตาดาต้ามากกว่า 1 ชุด ตัวอย่างของเมตาดาต้าเช่น
                   MARC
                   MARCML- New of library
                   Dublin core

                   ISAD (g)
                   CDWA
                   CDWA
                   RDF
                   OWL
                   MODs
                   METs   –  คล้ายๆ กับ DC
แต่ว่า element เยอะกว่า ใช้ในการทำ ดิจิทัล คอเล็กชั่น
                   PDF Metadata
                   Doc Metadata -  พวกทำงานในมหาวิทยาลัย
                   EXIF
                   XMP     งานด้านรูปถ่าย รูปภาพดิจิทัล ทำงานพวกนักข่าว
                   IPTC
                   IPTC
   5.   Open Technology
  • Z39.5 –การแลกเปลี่ยนข้อมูลบรรณานุกรมหนังสือผ่าน ILS
ILS <—–> ILS ระหว่างห้องสมุดกับห้องสมุด
  • Z39.88
ILS <—–> Apps ระหว่างห้องสมุดกับ other application that be new create
การเพิ่มลำดับเว็บ / จัดลำดับเว็บ Webometric
  • OAI-PMHมี1ช่องให้สืบค้น แล้วจะได้ผลลัพธ์ทุกอย่างที่ต้องการ เป็นมาตรฐานที่ อินเทรนมากที่สุดในตอนนี้ แล้วจะโชว์ full record ด้วยแนวคิดคือการทำ one search
ILS or DBs <—–> DBs, Apps
        Example:  http://tnrr.in.th/http://tnrr.in.th/beta

Linked Data keyword ที่ได้จากการทำเหมืองข้อมูลจากOAI-PMH จะถูกนำมาใช้ในด้านนี้ต่อ
–> Semantic Web/Web 3.0
Web 1.0      ให้ใครคนใดคนหนึ่งดูแลเว็บ แล้วเราอ่านอย่างเดียว
Web 2.0      เรามีสิทธิ์สร้างเว็บขึ้นมาเองได้
Web 3.0      หัวใจสำคัญคือคำว่า Semantic สามารถป้อนคำค้นเป็นประโยคได้/เว็บเชิงความหมาย เช่น กูเกิ้ลรู้ว่าคำศัพท์ที่เกี่ยวกับเกษตรกรรมคือ พืช สวน ไร่นา ทำเว็บไซต์ให้ค้นหาคำที่เกี่ยวข้องกับคำค้น โดยเอามาจาก keyword (link data)
     6.    Data & Information Mining/Visualization
              –    Data & Information Miningระบบ ฐานข้อมูลต้องไม่จบแค่ผลลัพธ์การค้น แต่มันต้องบอกอะไรมากกว่านั้น เช่นบอกว่า เจอทั้งหมดกี่เล่ม ปีไหนบ้างมีกี่เล่ม จะมีโปรแกรมช่วยนับให้เรา
-    Visualizationมีหนังสือที่เขียนโดยผู้เขียนคนนี้กี่เรื่องๆ แล้วมีเส้นเชื่อมโยงระหว่างคน 2 คนนี้ว่าเคยเขียนหนังสือเล่มเดียวกันด้วย เช่นhttp://www.boliven.com/http://vadl.cc.gatech.edu/http://labs.ideeinc.com/visual
7.   Green Libraryมาจากกระแสของ ภาวะโลกร้อน Global Warming
               …Green Building
               …Green ICT

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น